วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554

Wasara Tableware


ที่มาของภาพ : Wasara Tableware

“It is common practice in Japan to select tableware that best suits each ingredient or cuisine. Among the world’s food cultures, no other nation cares as much about its choice of tableware. This is not surpricing, given that Japan is recognized as one of the most refined cultures in the world.

Wasara is fully biodegradable and compostable, even in home composting systems. It is made from 100% renewable, tree-free materials, specifically, bamboo, red pulp, and bagasse (a by-product of the sugar refining process). Bamboo and reed grow in abundance, and are readily renewed. Bagasse is waste left over after extracting juice from sugarcane, and is often discarded or burned, but its intrinsic properties make it perfect as a paper base. By replacing wood pulp with these rapidly-renewable non-wood materials, our natural resources can be used more efficiently.

Comfortable and stable in your hands, the style and texture of Wasara clearly distinguish it from other disposable tableware. With organic forms that can be handled comfortably, and a texture that reflects its handcrafted roots, Wasara facilitates the Japanese custom of holding dishes in one’s hands while eating.”

"มันเป็นวิธีการของประเทสญี่ปุ่นในการเลือกใช้ภาชนะบนโต๊ะอาหารที่เหมาะสมกับส่วนผสมหรือ
อาหารชนิดนั้น ญี่ปุ่นถือว่าเป็นประเทศที่ใส่ใจและพิถีพิถันในการเลือกใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหารและเป็น
ที่ยอมรับในทั่วโลก
Wasara เป็นผู้เลือกใช้การวัสดุที่ย่อยสลายและย่อยสลายได้จริงซึ่งวัสดุที่นำมาทำ ภาชนะบน โต๊ะอาหารซึ่งวัสดที่ใช้ทำมาจากเปลือกไม้,เยื่อไม้ไผ่,ชานอ้อย(เป็นกากซึ่ง ได้มาจากอ้อยหลังจากที่นำ ไปกลั่นน้ำตาลหรือสกัดน้ำผลไม้แล้ว)  คุณสมบัติที่แท้จริงของมันเหมาะที่ทำกระดาษ Wasara จึงเลือกเอามาทำภาชนะบนโต๊ะอาหาร และเยื่อไม้หรือกากที่เราได้มาเป็นการนำกลับมาใช้ได้โดยไว โดยที่เราไม่ได้เสียทรัพยากรธรรมชาติของเราไปเลยและเมื่อทำมาแล้วมันมี ประสิทธิภาพ,สะดวกสบายและได้ความสวยงามและสะท้อนให้เห็นถึงความพิถีพิถันในการทำขึ้นมา และย่อยสลายได้ง่าย
    Warsara จึงให้ความสำคัญและคำนึงถึงความสะดวกสบายในการใช้ภาชนะบนโต๊ะอาหาร"

ความคิดเห็นส่วนตัว       
   การที่นำไม้ไผ่และชานอ้อยที่เป็บพืชที่มีมากในประเทศญี่ปุ่นนำกลับมารีไซเคิลและการเก็บลายละเอียดของชิ้นงานโดยเพิ่มส่วนโค้งเข้ามาในชิ้นงานด้วยจึงทำให้ชิ้นงานดูไม่กระด้างเกินไปทำให้ดูแล้วมีความอ่อนไหว
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...